- 2018
-
6 years ago
Support Team uploaded new photos
QR CODE SCANNED AUDIO PRESENTATION ABOUT SOME PAGODAS IN BAGAN AVAILABLE NOW
QR Code scan by mobile phone is available now for travellers at some pagodas in Bagan Ancient Cultural Zone to get an audio presentation on historical facts about the pagodas according to the Bagan Branch of Department of Archeology and Museums.Currently, the pagodas, where the QR Code scanned audio presentation is available,are Thatbyinnyu (Pagoda No. 1597), Thakyamuni (Pagoda No. 147), Gawdawpalin (Pagoda No. 1622), Pyathatgyi (Pagoda No. 803), Narathihapatae (Pagoda No. 535),Maha Bodhi (Pagoda No. 1678), Bulethee (Pagoda No. 394), Dhammarazika (Pagoda No. 947), Thambula (Pagoda No. 482), Sulamani (Pagoda No. 748), Saytanagyi (Pagoda No. 987), Dhammayangyi (Pagoda No. 771), Ananda (Pagoda No. 2171), Kandawgyi (Pagoda No. 151), Shwegugyi ( Pagoda No. 1589), Shin Izza Gawna (Pagoda No. 588) , and Manuha (Pagoda No. 1240). Once the QR Code is scanned by mobile phone, a presentation about each pagoda in English and Myanmar languages can be listened and likely be read as well. It is also learnt that there is a link in the QR Code to be able to download the scan application from Google Play Store.The QR Code application is being crated jointly by Institute of Computer Science of Myanmar and National Electronic and Computer Technology Center of Thailand. @ที่มา:http://mymagicalmyanmar.com
ပုဂံယဥ္ေက်းမႈအေမြအႏွစ္ေဒသရွိ ေရွးေဟာင္းေစတီပုထိုးမ်ားတြင္ QR Code Scan မ်ား စမ္းသပ္စိုက္ထူတပ္ဆင္ျခင္းစတင္ေဆာင္ရြက္
ျမန္မာနိုင္ငံကြန္ပ်ဴတာတကၠသိုလ္ႏွင့္ ထိုင္းနိုင္ငံ National Electronic and Computer Technology Center (NECTEC)တို႕ ပူးေပါင္း၍ ပုဂံယဥ္ေက်းမႈအေမြအႏွစ္ေဒသရွိ ေရွးေဟာင္း ေစတီပုထိုးမ်ားတြင္ QR Code မ်ား စမ္းသပ္(ယာယီ) စိုက္ထူတပ္ဆင္ျခင္းလုပ္ငန္းမ်ားကို ေဆာင္ရြက္လ်က္ရွိရာ ေရွးေဟာင္းေစတီ/ပုထိုး တစ္ဆူခ်င္းစီ၏ သမိုင္းေၾကာင္း Data အခ်က္အလက္မ်ားကို ျမန္မာ၊အဂၤလိပ္(၂)ဘာသာျဖင့္ေဖာ္ျပထားရွိသည့္ ယခုစိုက္ထူထားေသာ QR Code အား Scan ဖတ္ယူကာ ေလ့လာသူ ဘုရားဖူးတို႔၏ Mobile Phone မ်ားျဖင့္ အလြယ္တကူ ဖတ္ရႈေလ့လာ နိုင္႐ုံသာမက အသံထြက္စနစ္ျဖင့္လည္း နားဆင္နိုင္မည္ျဖစ္ပါသည္။ ဖတ္ရႈေလ့လာနိုင္ရန္အတြက္ အသံုးျပဳရမည့္ Scan Software အား Play Store မွ Download ဆြဲႏိုင္မည့္ Link ကိုလည္း QR Code တြင္အဆင္သင့္ေဖာ္ျပေပးထားရွိပါသည္။ ပဏာမစိုက္ထူမႈအေနျဖင့္ (၃.၈.၂၀၁၈)ရက္ေန႕ မွ စတင္ၿပီး ဘုရားေစတီ/ပုထိုး အဆူ(၂၀)တြင္ စမ္းသပ္(ယာယီ) စိုက္ထူထားၿပီးျဖစ္ပါသည္။ ဘုရားေစတီ/ပုထိုးမ်ား၏ သမိုင္းေၾကာင္း Data အခ်က္အလက္မ်ားကို ပိုမိုျပည့္စံုစြာ ေဖာ္ျပနိုင္ေရးႏွင့္ Information မ်ား ကိုလည္းအခ်ိန္ျဖင့္တစ္ေျပညီ (Update) ျဖစ္ေစေရး ဆက္လက္ေဆာင္ရြက္သြားမည္ျဖစ္ပါသည္။ QR Code Scan စိုက္ထူတပ္ဆင္ထားေသာ ဘုရား/ေစတီပုထိုးမ်ားမွာ သဗၺညဳဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၁၅၉၇)၊ သက်မုနိဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၁၄၇)၊ ကန္ေတာ႔ပလႅင္ဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၁၆၂၂)၊ ျပသာဒ္ၾကီးဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၈၀၃)၊ နရသီဟပေတ့ဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၅၃၉)၊ မဟာေဗာဓိဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၁၆၇၀)၊ ဗူးလည္သီးဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၃၉၄)၊ ဓမၼရာဇိကဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၉၄၇)၊ သဗၺဴလဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၄၈၂)၊ စူဠာမဏိဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၇၄၈)၊ ေစတနာၾကီးဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၉၈၇)၊ ဓမၼရံၾကီးဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၇၇၁)၊ အာနႏၵာဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၂၁၇၁)၊ ကုန္းေတာ္ႀကီးဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၁၅၁)၊ ေရႊဂူၾကီးဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၁၅၈၉)၊ ဗူးဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၁၆၅၇)၊ ရွင္အဇၥ်ေဂါဏဘုရား(ဘုရားအမွတ္-၅၈၈)ႏွင့္ မႏူဟာဘုရား (ဘုရားအမွတ္-၁၂၄၀)တို႕ျဖစ္ၾကပါ သည္။ 11.8.2018 ပုဂံဌာနခဲြ ေရွးေဟာင္းသုေတသနႏွင့္အမ်ဳိးသားျပတိုက္ဦးစီးဌာန @Ministry of Religious Affairs and Culture- CultureNews https://www.facebook.com/Officialmorac
Museum Pool of Myanmar
Active contribution to Museum Pool project by Myanmar colleagues from University of Computer Studies, Yangon. Preparation for a visit by Myanmar Minister of Religious Affairs and Culture. @ที่มา:https://www.facebook.com/NECTEC
- 2017
-
7 years ago
Support Team shared a video
-
7 years ago
Support Team uploaded new photos
เนคเทค ร่วมกับ วช. และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา เปิดตัวแอปฯ Museum Pool
วันที่ 31 สิงหาคม 2560 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากร จัดงานแถลงข่าว เปิดตัวแอปพลิเคชัน “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) เป็นแอปพลิเคชันเพื่อตอบโจทย์นักท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ตัวช่วยในการนำชมพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ส่วนตัว เช่น โทรศัพท์มือถือหรือแทปเล็ต ทั้งในรูปแบบการชมพิพิธภัณฑ์ในสถานที่จริง ซึ่งผู้เข้าชมสามารถดูเนื้อหาของวัตถุจัดแสดงแบบละเอียดได้ โดยการอ่าน QR code ที่ติดอยู่กับวัตถุ โดยเนื้อหาดังกล่าวประกอบด้วย ภาพ เสียง และวีดิทัศน์ ซึ่งผู้ชมสามารถรับทราบข้อมูลเบื้องต้นของวัตถุจัดแสดงได้ รวมทั้งสามารถศึกษาข้อมูลจากหลายพิพิธภัณฑ์ได้ในแอปพลิเคชันเดียว เพิ่มความสะดวก ความรวดเร็ว และตรงกับความต้องการในการวางแผนการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของนักท่องเที่ยวยุคใหม่ ดร.กัลยา อุดมวิทิต รองผู้อำนวยการเนคเทค และ ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส่งมอบแอปพลิเคชัน “Museums Pool” โดยมีคุณวัญญา ประคำทอง ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร เป็นผู้รับมอบและขยายผลจากการใช้ประโยชน์ต่อไป ดร. กัลยา อุดมวิทิต เปิดเผยว่า “ในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ มีความมุ่งมั่นที่จะวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการสร้างนวัตกรรมบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ ที่มีความผูกพันกับโลกดิจิทัล อีกทั้งยังสนองตอบต่อนโยบายของประเทศในเรื่อง Thailand 4.0 โดย “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) เป็นแอปพลิเคชันที่ผ่านการวิจัยและพัฒนามาได้ระยะหนึ่งแล้ว โดยทีมวิจัยของเนคเทคได้ริเริ่มแนวคิดในการพัฒนา “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) ที่ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก ส่วนแรก คือ ระบบหน้าบ้าน หรือ Front-end ที่ติดต่อกับผู้ชมพิพิธภัณฑ์ ทำหน้าที่เป็นตัวช่วยในการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ตั้งแต่เดินทางไปยังสถานที่จริง จนถึงการเยี่ยมชมวัตถุต่างๆ ส่วนที่สอง คือ ระบบหลังบ้าน หรือ Back-end สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบการจัดการพิพิธภัณฑ์นั้นๆ โดยข้อมูลและเนื้อหาของพิพิธภัณฑ์และวัตถุจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ที่ปรากฎในแอปพลิเคชัน เป็นส่วนที่ได้มาจากความร่วมมือจากกรมศิลปากร ผ่านทางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นพันธมิตรหลักที่ดีของเนคเทค อย่างเป็นทางการภายใต้บันทึกความร่วมมือฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งในช่วงแรกทางทีมวิจัยได้นำเทคโนโลยี RFID มาใช้ในการพัฒนา Audio guide เพื่อช่วยนำชมพิพิธภัณฑ์ จากนั้นได้พัฒนาต่อยอดมาเป็นโมบายแอปพลิเคชัน เพื่อขยายฐานผู้ใช้บริการให้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ เนคเทคได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากพันธมิตรที่ดีอีกแห่ง คือ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. ที่จัดสรรทุนสนับสนุนในการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะในส่วนของการเพิ่มช่องทางการเรียนรู้และศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ผ่านองค์ความรู้ในพิพิธภัณฑ์ ซึ่งในปัจจุบัน ผู้ใช้บริการทั่วไปสามารถเข้าชมพิพิธภัณฑ์ผ่านแอปพลิเคชัน “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และ พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศได้ โดยดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น “Museum Pool” (มิวเซียม พูล) บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ทั้งระบบปฏิบัติการ Android และ iOS ดังนั้น การนำเอาเทคโนโลยีมาช่วยสร้างความสนใจในการชมพิพิธภัณฑ์ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ง่ายและไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม สนุก แถมได้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทย @ที่มา:https://www.nectec.or.th
- 2013
-
11 years ago
Support Team uploaded new photos
nectec ace 2013
iQ@Museums หรือ ระบบนำชมอิเล็กทรอนิกส์สำหรับพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ด้วยอุปกรณ์ Smart Phone พัฒนาขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพัฒนาอุปกรณ์สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม และสามารถเก็บข้อมูลผู้เข้าชม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมต่อไป iQ@Museums จะช่วยให้พิพิธภัณฑ์สามารถนำเสนอได้มากกว่ารูปแบบเสียงเพียงอย่างเดียว อาจมีรูปภาพ หรือ VDO แนะนำสาธิตได้อีกด้วย เนคเทคได้ออกแบบและพัฒนาระบบนี้เป็น 2 ส่วน คือ 1) Front end หรือส่วนที่ผู้เข้าชมใช้งาน คือ แอพพลิเคชั่น iQ@Museums และ 2) ส่วนที่สำคัญเป็นหัวใจหลักของระบบ คือ ส่วน Back office พัฒนาขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล เนื้อหาของชิ้นงานที่จัดแสดง รวมทั้งฟังก์ชันการเก็บข้อมูลสถิติต่างๆ ในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ พฤติกรรม และความสนใจของผู้เข้าชม เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์และพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป @ที่มา:https://www.nectec.or.th
-
11 years ago
Support Team uploaded new photos
iQ@Museums Application
อพวช.-เนคเทคจับมือพัฒนาแอปฯ นำเที่ยวพิพิธภัณฑ์วิทย์ สนับสนุนโครงการแท็บเล็ตสำหรับนักเรียน ให้ข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นการเดินทาง ตลอดจน 8 จุดไฮไลต์ของพิพิธภัณฑ์ ให้ข้อมูลทั้งภาพและวิดีโอที่มากกว่าแค่แสดงในพิพิธภัณฑ์ พร้อมฟังก์ชันอ่านบาร์โค้ดเข้าสู่ข้อมูลที่มากกว่า แต่ยังอยู่ในขั้นพัฒนา หลังปิดจุดอ่อนแล้วจะเปิดให้ดาวน์โหลดใน Google Play องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ลงนามความร่วมมือการวิจัยและพัฒนาระบบนำชมอิเล็กทรอนิกส์สำหรับพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ด้วยอุปกรณ์สมาร์ทโฟน เมื่อวันที่ 21 พ.ค.56 ณ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ซึ่งทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ได้เข้าร่วมในงานดังกล่าวด้วย ส่วนหนึ่งของความร่วมมือดังกล่าวคือแอปพลิเคชัน iQ@Museums สำหรับมือถือและแท็บเล็ตระบบแอนดรอยด์ เวอร์ชัน 3.2 ขึ้นไป ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันสำหรับนำชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ โดยเบื้องต้นได้นำเสนอนิทรรศการ 8 จุดน่าสนใจ อาทิ นิทรรศการป้าลูซี่ นิทรรศการ นิทรรศการจานกระซิบ นิทรรศการทรงกลมพลาสมา นิทรรศการแรงเสียดทาน เป็นต้น นอกจากนี้แอปพลิเคชันดังกล่าวยังมีฟังก์ชันแผนที่เพื่อนำทางจากบ้านมายังพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา และพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่อยู่ใกล้เคียงกันด้วย และผู้ใช้งานยังสามารถใช้กล้องอ่านแถบ QR Code ที่หน้าชิ้นงานเพื่อแสดงข้อมูลที่มากกว่า ทางด้าน ดร.ละออ โควาวิสารัช นักวิจัยจากเนคเทคผู้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาแอปพลิเคชั่น กล่าวว่า เพิ่งพัฒนาแอปพลิเคชันมาได้ 3-4 เดือน ซึ่งระหว่างนี้อยู่ระหว่างรับฟังความคิดเห็นจากผู้ใช้เพื่อนำไปปรับปรุง ซึ่งอนาคตคาดว่าจะสามารถเปิดให้ดาวน์โหลดทาง Google Play ได้ หากแต่ระหว่างนี้ยังเปิดให้ใช้แอปพลิเคชั่นดังกล่าวเฉพาะในพิพิธภัณฑ์ ซึ่งผู้ใช้สามารถใช้ไว-ไฟ ชื่อ NSM-SmartGuide ของ อพวช.เพื่อติดตั้งแอปพลิเคชันผ่านทางบราวเซอร์http://iQ.nsm.or.th/download แต่ต้องตั้งค่า Security หรือ application ในเมนู settings เป็น Unknow sources เสียก่อน เหตุผลที่ทีมวิจัยเลือกพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับระบบแอนดรอยด์เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายแท็บเล็ตสำหรับนักเรียนซึ่งใช้ระบบปฏิบัติการดังกล่าว แต่อนาคตจะพัฒนาเพื่อให้รองรับระบบปฏิบัติการ iOS ด้วยนอกจากนี้ ดร.ละออ กล่าวด้วยว่า ข้อมูลจากแอปพลิเคชันยังช่วยให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพฤติกรรมของผู้เข้าชมนิทรรศการเพื่อวางแผนการจัดนิทรรศการต่อไปได้ @ที่มา:https://mgronline.com
iQ@Museums Application
ดร.พิชัย สนแจ้ง ผอ.องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกับ ดร.ละออ โควาวิสารัช นักวิจัยจากเนคเทค ลงนามความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาระบบนำชมอิเล็กทรอนิกส์สำหรับพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ด้วยอุปกรณ์สมาร์ตโฟน หรือ แอพพลิเคชั่น iQ@Museums สำหรับมือถือและแท็บเล็ตเฉพาะระบบแอนดรอยด์ เวอร์ชัน 3.2 ขึ้นไป เป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับนำชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เบื้องต้นสามารถใช้งานเกี่ยวกับการนำเสนอนิทรรศการทั้ง 8 จุด แผนที่นำทางมายังพิพิธภัณฑ์ และระบบกล้องอ่านแถบ QR Code ที่หน้าชิ้นงานเพื่อแสดงข้อมูล @ที่มา:https://www.nectec.or.th
iQ@Museums Application
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ร่วมกับองค์กรพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ร่วมกันวิจัยและพัฒนาระบบนำชมอิเล็กทรอนิกส์สำหรับพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ด้วยอุปกรณ์ สมาร์ทโฟน ผ่านโมบาย แอพพลิเคชั่น ที่ใช้ชื่อว่า iQ@Museums โดยใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่สามารถเข้าไปหน้าเว็บ เพื่อเล่นเสียงนำชม รวมถึงข้อมูลความรู้วิทยาศาสตร์โดยละเอียด ที่เกี่ยวข้องกับนิทรรศการ เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้ผู้เข้าชมสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมจากองค์ความรู้ที่จัดนิทรรศการเพื่อเป็นเครื่องมือที่สนับสนุนให้ผู้เข้าชมสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม จากองค์ความรู้ที่ทางพิพิธภัณฑ์จัดนิทรรศการ สำหรับ iQ@Museums นี้ มี 4 ฟังก์ชั่นไว้บริการ คือ 1.ฟังก์ชั่นแผนที่การเดินทางมายัง อพวช. 2.ฟังก์ชั่นปฏิทินกิจกรรม อพวช. 3.ฟังก์ชั่นสแกน QR Code ที่สามารถรับชมนิทรรศการ ซึ่งจะชมได้ทั้งภาพและเสียง เพื่อสร้างความเร้าใจในการรับชม และ 4.ฟังก์ชั่นไฮไลต์ชิ้นงานในพิพิธภัณฑ์ ที่จะให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับชิ้นงานต่างๆ เพิ่มเติม "พันธศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์" ผู้อำนวยการเนคเทค บอกว่า ในระยะแรกการพัฒนาระบบเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์นั้น จะสามารถให้บริการได้บนอุปกรณ์ที่มีระบบปฏิบัติการ Android เท่านั้น เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาทัศนศึกษาในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์จะเป็นนักเรียนและเยาวชนเป็นส่วนใหญ่ วิธีการติดตั้งแอพพลิเคชั่น คือ 1.ไปที่หน้า setting>security เลือก unknown sources 2.กรณีที่ติดตั้งเป็นภาษาไทย 3.หากเป็นเครื่องเวอร์ชั่นต่ำกว่า 3.0 ให้ไปที่หน้า setting>applications เลือก Unknown sources 4.เลือกสัญญาณ wi-fi ชื่อ NSM-SmartGuide 5.เปิดบราวเซอร์และพิมพ์ URL:http://iQ.nsm.or.th/download เพื่อดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น 6.จากนั้นเลือก install ทั้งสองโปรแกรม Barcode Scanner4.31.apk และ iQ@Museum.apk ตามลำดับ 7.เปิดแอพพลิเคชั่น iQ@Museums ล็อกอินเข้าใช้งาน (กรณีสมัครผ่านเว็บไซต์) ถ้ายังไม่ได้สมัครให้กดปุ่ม Register 8.เมื่อเข้า Login แล้ว แอพพลิเคชั่นจะเข้าสู่หน้าจอหลัก ในอนาคต นักวิจัยก็จะพัฒนาระบบเพื่อให้ใช้ได้กับระบบปฏิบัติการ ios ใช้กับไอโฟนได้ด้วย คอลัมน์ เรดดี้ ทูโชวร์ โดย ชุติมา สิริทิพากุล @ที่มา:https://sanook.com
- 2011
-
13 years ago
Support Team uploaded new photos
Wireless audio guide, Personalized Museum e-Guide at Chao Sam Phraya National Museum
- RFID : Radio Frequency Identification uses radio waves to identify physical objects
- Applications including tracking, traceability, logistic, access control, transportation, etc.
- Portable and easy to use